วันพุธที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ประวัติผู้จัดทำ


ประวัติผู้จัดทำ

ชื่อ-สกุล    นาย จีรศักดิ์ พิมพ์รูป
เลขที่        2
ชั้น            มัธยมศึกษาปีที่4/1
หน้าที่       ทำบทที่ 1 , 2 , เป็นผู้สัมภาษณ์ , พิมพ์เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ชื่อ-สกุล    น.ส. กัญญารัตน์ อุ่นเครือ
เลขที่         5
ชั้น            มัธยมศึกษาปีที่4/1
หน้าที่       ทำบทที่ 4, เป็นผู้ถ่ายวิดีโอ
ชื่อ-สกุล    น.ส. สุกันยา มะโนธรรม
เลขที่         16
ชั้น            มัธยมศึกษาปีที่4/1
หน้าที่       ทำบทที่ 1,5 , ประวัติผู้จัดทำ ,ผู้ช่วยในการถ่ายทำวิดีโอ
ชื่อ-สกุล    น.ส. สุดารัตน์ มูลขุนทด
เลขที่        17
ชั้น            มัธยมศึกษาปีที่4/1
หน้าที่   ทำบทที่3    พิมพ์เอกสารที่เกี่ยวข้อง , ผู้ช่วยในการถ่ายทำวิดีโอ , ทำหน้าปก

คลิปการสัมภาษณ์

https://www.facebook.com/video.php?v=627103590751109&set=o.253867208139534&type=2&theater

บรรณานุกรม


บรรณานุกรม

แอพพลิเคชั่น   . เข้าถึงได้:จาก[ออนไลน์]
http://news.siamphone.com/news-17863.html
Facebook  . เข้าถึงได้:จาก[ออนไลน์
http://th.wikipedia.org/wiki
Instar gram [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://instagram.kapook.com/view58987.html
LINE   [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.com5dow.com
Twitter [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.lomtoe.net/twitter/
YouTube  [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://guru.sanook.com/2292/YouTube/
Socialcam [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.koomuesorb.com
เกมเศรษฐี [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.techmoblog.com/line-lets-get-rich
Skype [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.hitechsky.com/skype
Wechat  [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.malinplaza.com
WhatsApp [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://gracezone.org/index.php/technology/1274-what-is-whatsapp

บทที่ 5



 
บทที่ 5


สรุป  อภิปรายผล  และข้อเสนอแนะ

 

           การสำรวจ ค่านิยมการใช้แอพพลิเคชั่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์  ผู้ศึกษาได้สรุปผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะตามลำดับดังนี้

 

สรุปผลการศึกษาค้นคว้า

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่านิยมการใช้แอพพลิเคชั่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ว่าใช้แอพพลิเคชั่นใดมากที่สุด  โดยสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับ   1) Facebook 2) Instagram 3) LINE 4) Twitter 5) YouTube 6) Socialcam 7) Get Rich (เกมเศรษฐี) 8)  Skype 9)  Wechat  10) WhatsApp   กลุ่มเป้าหมายที่ใช้ในการสำรวจครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายเป็นนักเรียนชาย 50 คน นักเรียนหญิง 50 คน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่4 จำนวน 49 คน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 จำนวน 30 คน เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 จำนวน 21 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า เป็นแบบสำรวจ ซึ่งมีลักษณะเป็นแบบเลือกตอบ เพื่อสำรวจความคิดเห็น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ใช้ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ โดยใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมสำเร็จรูป      

ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่านักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์นิยมใช้แอปพลิเคชัน  Facebook  คิดเป็นร้อยละ 78 Instagram คิดเป็นร้อยละ 2 LINE คิดเป็นร้อยละ 2 Twitter คิดเป็นร้อยละ 1 YouTube คิดเป็นร้อยละ 12  Socialcam  คิดเป็นร้อยละ 0  Get Rich (เกมเศรษฐี)  คิดเป็นร้อยละ 5 Skype คิดเป็นร้อยละ 0 Wechat คิดเป็นร้อยละ 0  WhatsApp คิดเป็นร้อยละ 0    

อภิปรายผลการวิจัย

           จากการสำรวจค่านิยมการใช้แอพพลิเคชั่นของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์ ผู้ศึกษาจึงอภิปรายผลการศึกษา ดังนี้

           ผลการสำรวจพบว่า แอพพลิเคชันที่นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายนิยมใช้มากที่สุดคือ  Facebook ซึ่งมีค่าร้อยละ สูงถึง 78   นั่นอาจเป็นเพราะว่า Facebook เป็นแอพพลิเคชันที่ใช้งานได้ง่าย สะดวก รวดเร็ว ในการติดต่อสื่อสาร  ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารต่างๆ ก็เป็นไปได้โดยง่ายและเป็นที่นิยมของคนทุกเพศ ทุกวัยในส่วนของ แอพพลิเคชัน Youtube  มีค่าร้อยละ สูงถึง 12 นั่นอาจเป็นเพราะว่า Youtube  เป็นแอปพลิเคชันที่ นั้นให้สาระความบันเทิง แก่ผู้ชมได้หลากหลายรูปแบบ อีกทั้งยังสามารถให้ข้อมูลข่าวสาร ความรู้ในรูปแบบวีดิโอ ได้อีกด้วย จึงทำให้ แอปพลิเคชัน Youtube  ได้รับความนิยมในลำดับต้น ๆ  ในส่วนของ แอปพลิเคชัน Socialcam ได้รับความนิยมน้อยที่สุด อาจเป็นเพราะ Socialcam  ยังใช้งานได้สะดวก รวดเร็ว และ อรรถประโยชน์ยังน้อยกว่า Facebook อยู่มาก จึงเป็นที่นิยมสำหรับบุคคลเฉพาะกลุ่มเท่านั้น

 

ข้อเสนอแนะ

        ในปัจจุบันนี้มีแอพพลิเคชั่นที่มีมาให้ได้ใช้มากมาย ซึงมีทั้งการใช้ในด้านการสื่อสาร  การศึกษา  เกม  เพลง  ซึ่งเราควรใช้วิจารณญาณในการใช้แอพพลิเคชั่นเหล่านี้  ควรใช้ให้ถูกกาลเทศะ ถูกเวลา  ไม่ควรหมกหมุ่นกับการเล่นแอพพลิเคชั่นมากนัก  แอพพลิเคชั่นมีทั้งข้อดี คือ  ช่วยในการติดต่อสื่อสาร การศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติม  ช่วยพักผ่อนหย่อน เป็นสื่อในการแสดงความสามารถ ส่วนข้อเสียของแอพพลิเคชั่น ก็คือ การถูกหลอกลวง เมื่อเล่นไปแล้วอาจทำให้สุขภาพร่างการเสียได้หากเล่นโดยการไม่กำหนดเวลา

บทที่ 4


บทที่ 4


ผลการวิเคราะห์ข้อมูล

 

 

ตารางที่ 1   แสดง จำนวน และ ร้อยละ สถานภาพของผู้ตอบแบบสอบถามจำแนกตาม  เพศ

                

 

สถานภาพ
จำนวน ( N )
ร้อยละ
1. เพศ
            ชาย
            หญิง    
            รวม

 50

50
100

50.00
50.00
100.00
2. ระดับชั้น
            มัธยมศึกษาปีที่ 4
            มัธยมศึกษาปีที่ 5
            มัธยมศึกษาปีที่ 6
            รวม
 
49
30
21
100
 
49.00
30.00
21.00
100.00
3. อายุ
            นักเรียน

            รวม

100 
100

100.00
100.00

 


 

ตารางที่ 2  แสดจำนวนและร้อยละ  ค่านิยมการใช้แอพพลิเคชั่น ของนักเรียนโรงเรียนอ้อมน้อยโสภณชนูปถัมภ์             


ข้อที่
แอพพลิเคชั่นที่นิยม
N
ร้อยละ
ลำดับ
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
Facebook
Twitter
YouTube   
LINE
Instagram
Skype
Wechat
WhatsApp
Socialcam 
เกมเศรษฐี   
78
1
12
2
2
   0
0
0
0
5
78
1
12
2
2
0
0
0
0
5
1
5
2
3
2
7
7
7
7
6
 
รวม
100
100